ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

เมื่อศึกษา เรื่องพีทาโกรัสแล้ว ลองไปตอบปัญหาที่เกี่ยวข้องได้เลยจ้ะ

ปัญหาที่ 1

โพสท์ใน M.2 | 1 ความเห็น

ครม.เห็นชอบปรับปรุงค่าตอบแทนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา

ที่มา : ข่าวสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิการ

http://www.moe.go.th/websm/2012/oct/281.html

โพสท์ใน เรื่องน่าสนใจใกล้ตัว | ติดป้ายกำกับ , , , | ใส่ความเห็น

ความน่าจะเป็น (Probability)

ศึกษาเนื้อหา และทดลองทำแบบฝึกหัดแล้ว

เตรียมพบกับเฉลยในเร็วๆนี้

โพสท์ใน M.4, M.5, M.6 | ติดป้ายกำกับ , , | ใส่ความเห็น

ความรู้พื้นฐานสำหรับการสร้างรูปเรขาคณิตด้วยโปรแกรมGSP

การสร้างส่วนของเส้นตรงให้มีความยาวตามที่กำหนด

การสร้างรูปวงกลม

การสร้างรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน

การสร้างส่วนโค้ง

โพสท์ใน GSP | ติดป้ายกำกับ , , , , , , | ใส่ความเห็น

เป็นวิทยากรอบรมโปรแกรม GSP (The Geometer’s Sketchpad)

วันที่ 17 กันยายน 2555
ชมรมคณิตศาสตร์ สำนักงานเขตพื้ันที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2
เชิญเป็นวิทยากรอบรมโปรแกรม GSP (The Geometer’s Sketchpad) ให้กับ
ครูที่เป็นสมาชิกชมรมจำนวน 90 คน ณ ห้องประชุม 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2

This slideshow requires JavaScript.

โพสท์ใน GSP | ติดป้ายกำกับ , , , | ใส่ความเห็น

เริ่มต้นใช้งาน GSP (The Geometer’s Sketchpad)

โพสท์ใน GSP | ใส่ความเห็น

โจทย์ที่ 3 Help Ning & Nut.

หนิงกับนัทมีที่ดินอยู่ติดต่อกันดังรูป และมีเส้นแบ่งเขตมีลักษณะเป็นเส้นตรงสองเส้นต่อกัน ด้านข้างของที่ดินทั้งสองแปลงเป็นถนน หนิงกับนัทมีความเห็นเหมือนกันว่าหากจะสร้างรั้วกั้นระหว่างที่ดินทั้งสอง ถ้ากั้นเป็นเส้นตรงจะง่ายกว่า แต่เส้นแบ่งใหม่นี้ต้องทำให้ทั้งสองคนยังมีที่ดินขนาดเท่าเดิม นักเรียนคิดว่าควรเขียนเส้นแบ่งใหม่อย่างไรจึงจะเป็นเส้นตรงเส้นเดียวและที่ดินของทั้งสองยังมีขนาดเท่าเดิม (แนะนำ : ใช้ความรู้เรื่องพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม และ เส้นขนาน)

โพสท์ใน โจทย์คณิตคิดสนุก, M.3 | ติดป้ายกำกับ , , , , , , , | ใส่ความเห็น

รากที่สอง (Square Roots)

ก่อนจะมาทำความรู้จักกับรากที่สอง เราต้องมีความรู้พื้นฐานเรื่องเลขยกกำลังมาก่อนค่ะ
ตัวอย่าง
22 = 2×2 = 4
32 = 3×3 = 9
42 = 4×4 =16
จะเห็นว่า เลขที่ยกกำลังสอง มีลักษณะเหมือนการหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส(Square)
แต่การหารากที่สอง หรือที่นักเรียนเรียกว่า “สแควรูท” นั้น เป็นการกระทำย้อนกลับ
คือ เราอยากได้คำตอบที่ว่า จำนวนใดยกกำลังสองแล้วมีค่าเท่ากับ 4
ซึ่งเราทราบว่า 22 = 4 จะได้ว่า 2 เป็นรากที่สองของ 4
และ             (-2)2 = 4 จะได้ว่า -2 เป็นรากที่สองของ 4
นั่นคือ   รากที่สองของ 4 คือ 2 และ -2

“เมื่อ a แทนจำนวนจริงบวกใดๆ หรือ ศูนย์ (เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ a ≥ 0)
รากที่สองของ a คือ จำนวนจริงที่ยกกำลังสองแล้วได้ a”
(ที่มา: หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นม.3 ของกระทรวงศึกษาธิการ)
เช่น จะหารากที่สองของ 36
วิธีทำ  เนื่องจาก  62= 6 × 6 = 36
และ (-6)2 = (-6) × (-6) = 36
ดังนั้น รากที่สองของ 36 คือ 6 และ -6
ศึกษาเพิ่มเติมจากสไลด์ต่อไปนี้ จ้ะ

The square root of a number is that special value that, when multiplied by itself,
gives the number.
Example
How to read √16 → Square root of 16.
4×4 = 16, so the squre root of 16 is 4.
.·. √16 = 4

โพสท์ใน M.3 | ติดป้ายกำกับ , , | ใส่ความเห็น

การหาค่ารากที่สอง และการแก้สมการรากที่สอง

โพสท์ใน M.3 | ติดป้ายกำกับ , , , , , | ใส่ความเห็น

พื้นฐานทางเรขาคณิต

โพสท์ใน M.1, M.2, M.3 | ติดป้ายกำกับ , , , , | ใส่ความเห็น